prothesis2000

มาทำความรู้จักกับบทความวิชาการกันค่ะ

พอพูดถึงบทความวิชาการ บทความวิจัย บทความปริปรรศ์ เป็นอะไรที่หลาย ๆ คนไม่รู้จัก และไม่เข้าใจว่ามันคือออะไร แค่ทำวิจัย วิทยานิพนธ์ก็หนักจะตามอยู่แล้ว แล้วเนี่ย คืออะไร หยุดๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ และตั้งสติฟังพี่ปูนะคะ พี่จะเล่าให้ฟัง
ทำความเข้าใจก่อนว่าบทความวิชาการ เป็นแค่การเอาภาษาวิชาการมาเขียน ซึ่งภาษาวิชาการก็ไม่ใช่ภาษาพูดที่เราคุยกันปกติ ก็เท่านั้นเองจ้า ไม่ต้องตกใจ ร้องไห้ฟูมฟายไปจ้า
มา ๆ ทำความรู้จักประเภทของบทความวิชากรกันค่ะ

ประเภทและความหมายของบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการทีสําคัญมี 3 ประเภท ได้แก่ บทความวิจัย บทความวิชาการ และบทความ ปริทรรศน์ สําหรับนิยามของบทความ จะขออิงกับนิยามของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ทีระบุไว้ ในเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. (2560) ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาแต่งตังบุคคลให้ดํารง ตําแหน่ง ผู้ช่วยศาตราจารย์ รองศาตราจารย์ และศาตราจารย์ อย่างไรก็ตามประกาศดังกล่าวได้ให้นิยาม ไว้เฉพาะบทความวิชาการ แต่มิได้ให้นิยามบทความวิจัยไว้ ผู้ เขียนจึงได้ใช้นิยามงานวิจัยและรูปแบบ งานวิจัยในประกาศดังกล่าวมาประกอบขึนเป็นนิยามบทความวิจัย และขอให้นิยามประเภทของบทความ ดังนี้

  1. บทความวิจัย บทความวิจัยหมายถึงบทความทางวิชาการทีเขียนขึนจากผลงานวิจัยของผู้ เขียนเอง โดยเป็น การประมวลสรุปอย่างกระชับและสันของกระบวนการวิจัยและผลการวิจัย ซึงเป็นงานศึกษาหรือค้นคว้า อย่างมีระบบด้วยวิธีวิทยาการวิจัยซึงเป็นทียอมรับในสาขาวิชานันๆ และมีวัตถุประสงค์ทีชัดเจนเพือให้ ได้มาซึงข้อมูล คําตอบ หรือข้อสรุปทีจะนําไปสู่ความก้าวทางวิชาการ หรือเอือต่อการนําวิชาการนันไป ประยุกต์
  2. บทความวิชาการ บทความวิชาการหมายถึงงานเขียนทางวิชาการซึงมีการกําหนดประเด็นทีต้องการอธิบายหรือ วิเคราะห์อย่างชัดเจน ทังนีมีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการโดยมีการสํารวจวรรณกรรม เพือสนับสนุนจนสามารถสรุปวิเคราะห์ในประเด็นนันๆได้ อาจเป็นการนําความรู้จากแหล่งต่างๆมา ประมวลร้อยเรียงเพือวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยทีผู้เขียนแสดงทัศนะทางวิขาการของตนไว้อย่าง ชัดเจน
  3. บทความปริทรรศน์ บทความปริทรรศน์ หมายถึง บทความทางวิชาการทีมีการศึกษารวบรวมและวิเคราะห์องค์ความรู้ ในเรืองใดเรืองหนึงอย่างลึกซึง รอบด้าน และเป็นระบบ รวมทังมีการอภิปรายผลในเรืองทีศึกษาให้เห็น ถึงแนวโน้มว่าเป็นไปในทิศทางใด มีข้อดีข้อเสียหรือจุดแข็งจุดอ่อนขององค์ความรู้อย่างไร ตามทัศนะ ทางวิชาการของผู้ เขียน

พอเราเริ่มรู้จักเค้า เราจะเข้าใจนะคะ เค้าจะไม่ใช่เรื่องยากสำหรับเราอีกต่อไป

สอบถามบริการ http://line.me/ti/p/%40thd473