prothesis2000

งานวิจารณ์ งานวิจัยเรื่อง “ ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย ”

งานวิจารณ์ งานวิจัยเรื่อง “ ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย ”

  1. ชื่อเรื่องงานวิจัย
  2. สะท้อนเรื่องที่วิจัยหรือไม่
  3. กระชับหรือไม่
  4. มีการระบุตัวแปรที่สำคัญหรือไม่
  5. มีการระบุประชากรที่ศึกษาหรือไม่
  6. มีการระบุสถานที่ศึกษาหรือไม่
  7. สะท้อนแนวทางวิธีการศึกษาและวิเคราะห์หรือไม่
    ชื่องานวิจัยเรื่องนี้ข้าพเจ้าคิดว่า ยังไม่ค่อยดีเท่าที่ควร คือไม่มีความกะทัดรัด ชัดเจน เพราะชื่อเรื่องมีความยาวเกินไป หากเปลี่ยนไปใช้ “ การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย” น่าจะมีความกระชับและสื่อความหมายได้ครอบคลุมกว่าการระบุคำว่าประสิทธิภาพ เนื่องด้วยคำว่า ประสิทธิภาพ ที่ผู้เขียนกล่าวถึงนั้น ประสิทธิภาพหมายถึง
    2.บทคัดย่อ Abstract
  8. มีการกล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธี ผลการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะหรือไม่
  9. มีจำนวนคำและความยาวที่เหมาะสมหรือไม่
  10. กระชับและชัดเจนหรือไม่
  11. สะท้อนเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
    บทคัดย่อนี้ข้าพเจ้าคิดว่า มีการกล่าวถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษา บอกถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ศึกษาว่าเป็นขั้นทุติยภูมิ
    3.ปัญหาการวิจัย Research Problem
  12. ปัญหาการวิจัยมีเขียนไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ มีการกล่าวถึงในส่วนเริ่มต้นของรายงานวิจัยหรือไม่ มีการเขียนแบบข้อคำถาม หรือเป็นประโยคบอกเล่า
  13. มีข้อสนับสนุนความเป็นมาความสำคัญหรือความรุ่นแรงของปัญหาหรือไม่
  14. มีการกล่าวถึงงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และมีการชี้ให้เห็นไม่ว่างานวิจัยนี้ เหมือนหรือต่างจากเรื่องอื่นอย่างไร หรืองานงานวิจัยนี้จะเติมช่องว่างของความรู้ได้อย่างไร
  15. มีการระบุตัวแปรหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่จะศึกษาหรือไม่
  16. มีการระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษาหรือไม่
  17. มีการมองปัญหาภายใต้บริบทของกรอบแนวคิดทฤษฏีที่เหมาะสมหรือไม่
  18. ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการศึกษาปัญหานี้มีความสำคัญอย่างไรต่อการปฏิบัติการพยาบาล การสร้างองค์ความรู้หรือประเด็นอื่น
    4.วัตถุประสงค์การวิจัย Purpose,Objective,Aim
  19. มีความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัยหรือไม่
  20. เขียนชัดเจนหรือไม่ว่าผู้วิจัยมีแผนจะทำอะไร จะเก็บข้อมูลจากใคร ที่ไหน
    การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง Review of literature
  21. เป็นการศึกษาอย่างขว้างขวางลึกซึ้งเกี่ยวข้องและครอบคลุมตัวแปรต่างๆที่วิจัยหรือไม่
  22. นำเสนอต่อจากบทนำและปัญหาการวิจัยหรือไม่
  23. ให้ความรู้เกี่ยวกับความรู้ที่มีอยู่ ช่องว่างของความรู้ และบทบาทของงานวิจัยเรื่องนี้ในการขยายหรือทดสอบความรู้หรือไม่
  24. มีการใช้ข้อมูลทั้งเชิงทฤษฏีและงานวิจัยหรือไม่
  25. แหล่งอ้างอิงส่วนใหญ่เป็นปฐมภูมิ หรือ ทุติยภูมิ มีความเป็นปัจจุบันหรือไม่
  26. แหล่งอ้างอิงสำคัญหรือข้อมูลสำคัญ มีการกล่าวไว้ถึงครบถ้วนหรือไม่
  27. การเขียนเรียงเป็นลำดับต่อเนื่องหรือไม่ น่าอ่าน น่าติดตามหรือไม่
  28. การเขียนเรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาตนเอง หรือเป็นการคัดลองคำพูดมาจากแหล่งปฐมภูมิโดยตรง
  29. สะท้อนอคติของผู้วิจัยหรือไม่
  30. มีการเขียนเชิงวิพากษ์ เปรียบเทียบหรือไม่
  31. มีการสรุปสถานภาพองค์ความรู้ในหัวข้อนั้น State of the art หรือไม่
  32. ขอบเขตของการวิจัย
    หลักในการเขียนขอบเขตของการวิจัย
  33. มีการกำหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ชัดเจน หรือไม่อย่างไร
  34. กำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่างชัดเจนหรือไม่
  35. กำหนดขอบเขตของตัวแปรที่ศึกษาชัดเจนหรือไม่ 6.กรอบแนวคิดทฤษฏี
  36. มีการระบุกรอบแนวคิดทฤษฏีอย่างชัดเจนหรือไม่
  37. แนวคิด ทฤษฏี สอดคล้องเหมาะสมกับเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
  38. ให้ความหมายของตัวแปรสำคัญอย่างชัดเจนหรือไม่
  39. สมมุติฐานได้มาจากกรอบแนวคิดทฤษฏีหรือไม่
  40. มีการระบุข้อความแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือไม่
  41. การใช้เแนวคิด ทฤษฏี มีความสม่ำเสมอตลอดงานวิจัยหรือไม่
  42. ทฤษฏีที่ใช้มาจากศษสตร์ทางการพยาบาลหรือสาขาวิชาใด หรือเป็นแนวคิดที่เกิดจากการผสมผสานงานวิจัยและทฤษฏีต่างๆ
    7.สมมุติฐานการศึกษา
    หลักในการตั้งสมมุติฐานของการวิจัย
  43. เป็นการเขียนแบบมีทิศทางหรือไม่มีทิศทาง
  44. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัยข้อใด
  45. บ่งบอกได้ว่ามีตัวแปรใดบ้างที่จะศึกษา อะไรเป็นตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ อะไรเป็นตัวแปรตาม
  46. สามารถทดสอบได้ด้วยสมมติฐานทางสถิติหรือไม่ และใช้สถิติใดทดสอบ

8.วิธีการรวบรวมข้อมูล Data collection procedure

  1. ข้อมูลมีการรวบรวมอย่างไร มีกี่วิธี
  2. วิธีรวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมกับการวิจัยหรือไม่
    3.มีขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจนสำหรับตัวอย่างทุกคนหรือไม่
  3. ใครรวบรวมข้อมูล ผู้รวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมหรือไม่ ได้รับการฝึกอบรมอย่างไร
  4. ข้อมูลรวบรวมในสถานการณ์เช่นไร มีความกดดันไหม มีคนอื่นอยู่ในขณะเก็บข้อมูลไหม ผู้ให้
    หลักการเก็บรวบรวมข้อมูล
  5. มีวิธีการทดลอง หรือรวบรวมข้อมูลอย่างไร เป็นวิธีที่เชื่อถือได้หรือไม่
    2.ขนาดตัวอย่างเหมาะสมหรือเพียงพอต่อการวิจัยหรือไม่ และกำหนดขนาดตัวอย่างไว้อย่างไร
    9.การวิเคราะห์ข้อมูล
    หลักในการวิเคราะห์ข้อมูล
  6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย/สมมติฐานการวิจัยหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงใช้สถิตินั้น ๆ ในการตอบคำถามวิจัย
    การแปลความหมายข้อมูล ตารางที่นาเสนอนั้นตอบจุดมุ่งหมายใดของการวิจัย การแปลความหมายอ่านแล้วเข้าใจชัดเจน/สับสน ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวด้วยหรือไม่